รองศาสตราจารย์ ดร.ประยูร สุยะใจ

ตำแหน่ง

  • รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาจิตวิทยา
  • รักษาการหัวหน้าภาค ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • อาจารย์ประจำ ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

การศึกษา

  • Ph.D. (Clinical Psychology), Marathwada University, India (พ.ศ. ๒๕๔๗)
  • M.A. (Clinical Psychology), Marathwada University, India (พ.ศ. ๒๕๓๙)
  • M.Ed. ( Educational Psychology) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (พ.ศ. ๒๕๔๘)
  • M.A. (Economics), Deemed University Pune, India (พ.ศ. ๒๕๕๓)
  • M.A. (Political Sciences), Deemed University Pune, India (พ.ศ. ๒๕๔๑)
  • Grad. Dip. in Social Research มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ. ๒๕๕๔)
  • B.J. (Journalism), Deemed University Pune, India (พ.ศ. ๒๕๔๐)
  • นบ. (นิติศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๖๐)
  • พธ.บ. (จิตวิทยา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๓๖)

สถานที่ทำงาน

ภาคจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เลขที่ 79 หมู่ 1 ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13170

ภาระงานในความรับผิดชอบ (ภายใน ๓ ปีย้อนหลัง)

ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาตรี (รายวิชา)

  1. สรีรจิตวิทยา
  2. การทดลองทางจิตวิทยา
  3. ระเบียบวิธีวิจัยทางจิตวิทยา
  4. จิตวิทยาอปกติ
  5. จิตวิทยาคลินิกเบื้องต้น
  6. กฎหมายทั่วไป
  7. General Law (English Program)
  8. Research and Literary works on Buddhism (English Program)
  9. ทฤษฎีบุคลิกภาพ
  10. การวัดและการประเมินทางจิตวิทยา
  11. พุทธจิตวิทยาแห่งความงอกงาม
  12. การศึกษาอิสระ
  13. การฝึกภาคปฏิบัติการให้การปรึกษา
  14. สัมมนาจิตวิทยาพระพุทธศาสนาและจิตวิทยาตะวันตก
  15. การบริหารจัดการความขัดแย้ง ณ มหาวิทยาลัยมหิดล

ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาโท (รายวิชา)

  1. สถิติและระเบียบวิธีวิจัยในชีวติและความตาย
  2. พุทธจิตวิทยาแห่งความงอกงาม
  3. ทฤษฎีการให้การปรึกษา
  4. การวัดและการประเมินทางจิตวิทยา
  5. ระบบและกลไกทางพุทธจิตวิทยา
  6. ชีวิตและความตายในพระพุทธศาสนา
  7. การฝึกภาคปฏิบัติการให้การปรึกษา
  8. การวัดและการทดสอบทางจิตวิทยา
  9. สุขภาพจิตและการจัดการความเครียด

ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาเอก (รายวิชา)

  1. รูปแบบ ระบบและหลักการทางพุทธจิตวิทยา
  2. ระเบียบวิธีและเทคนิคการวิจัยพุทธจิตวิทยาขั้นสูง
  3. รูปแบบ และกุศโลบายทางพุทธจิตวิทยา
  4. การทดสอบและการประเมินทางจิตวิทยา
  5. ระเบียบวิธีและเทคนิคการวิจัยขั้นสูง

ผลงานทางวิชาการ

งานวิจัย

  1. รศ.ดร.ประยูร สุยะใจ(๒๕๖๐) “พุทธจิตวิทยาบูรณาการ : รูปแบบและกระบวนการเสริมสร้างสุขภาวะองค์ รวมของครอบครัวและสังคม” สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ร่วมกับสํานักงานวิจัยแห่งชาติ(วช.).จํานวน ๒๓๕ หน้า
  2. รศ.ดร.ประยูร สุยะใจ(๒๕๖๐) “การสร้างโมเดลพฤติกรรมเชิงพุทธ : แนวคิด หลักการ และการเสริมสร้าง ความสมดุลของชีวิตและครอบครัว” สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ร่วมกับสํานักงานวิจัยแห่งชาติ(วช.).จํานวน ๓๘๘ หน้า
  3. รศ.ดร.ประยูร สุยะใจ(๒๕๖๑)“ความมั่นคงของพระพุทธศาสนาในสังคมไทยปัจจุบัน” ส่วนงานที่สนับสนุนทุน วิจัย กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม กรุงเทพมหานคร จํานวน ๔๗๓ หน้า
  4. รศ.ดร.ประยูร สุยะใจ(๒๕๖๒) “วิเคราะห์ความเชื่อมโยงทางด้านพุทธศาสนากับเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และ สังคมสุวรรณภูมิจากอดีตสู่ปัจจุบันและอนาคต เพื่อการกําหนดยุทธศาสตร์และการวางแผน ยุทธศาสตร์ของประเทศในมิติศาสนา วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และสังคม” สํานักประยุกต์และบริการภูมิ สารสนเทศสํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) จํานวน ๔๗๒ หน้า

บทความวิจัย/วิชาการ

  1. รศ.ดร.ประยูร สุยะใจ (๒๕๖๒) “พระพุทธศาสนากับวิถีชีวิตคนไทยในดินแดนสุวรรณภูมิ Buddhism and Thais’ Way of life in Suvarnabhumi”. วารสารสนั ติศึกษาปริทรรศน์ มจร. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๓
    (พฤษภาคม): ๙๕๐-๙๖๔.(TCI.1)
  2. รศ.ดร.ประยูร สุยะใจ(๒๕๖๑) “ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการนําตนเองและการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยสู่การเป็นประชาคมอาเซียน”. วารสารมจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์ ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน):๑๓๙-๑๔๙.(TCI.2)
  3. รศ.ดร.ประยูร สุยะใจ (๒๕๖๑) “ประสิทธิผลการใช้โปรแกรมการให้การปรึกษากลุ่มเชิงพุทธจิตวิทยาสําหรับนิสิตที่มีผลสัมฤทธิ์การเรียนต่ำในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย”. วารสาร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์ ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม):๒๐๕-๒๑๘. (TCI.2)
  4. รศ.ดร.ประยูร สุยะใจ(๒๕๖๑) “การเสริมสร้างความเข้มแข็งพระพุทธศาสนาในสังคมร่วมสมัย” วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์ ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม): ๗๕-๘๘. (TCI.2)
  5. รศ.ดร.ประยูร สุยะใย (๒๕๖๑) “ผลการปรึกษากลุ่มเชิงพุทธจิตวิทยาต่อการพัฒนาวิธีคิดตามแนว ปัญญาและการกํากับตนเองของนิสิตโดยใช้โปรแกรม(NLP) ในจิตบําบัด”. วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน):๙๕-๑๑๑ (TCI.1)
  6. รศ.ดร.ประยูร สุยะใจ (๒๕๖๔) “สุวรรณภูมิโมเดล: พุทธอารยสุวรรณภูมิวิถีกับการสร้างคุณค่า ในมิติทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม” วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – กุมภาพันธ์): ๘๑-๙๘.(TCI.1)
  7. Assoc.Prof.Dr.Prayoon Suyajai and other “Adaptive Segmentation for Spontaneous EEG Map Series into Spatially Defined Microstates of Musicians’ Brain”. Bulletin of Electrical Engineering and Informatics, http//beei.org Bulletin of Electrical Engineering and Informatics Vol. 10, No. 4, August 2021, pp. 2006~2015 ISSN: 2302-9285, DOI: 10.11591/eei.v10i4.3063.Scopus (Q3)
  8. รศ.ดร.ประยูร สุยะใจและคณะ “การสร้างโมเดลพฤติกรรมเชิงพุทธ : แนวคิด หลักการ และการเสริมสร้าง ความสมดุลของชีวิตและครอบครัว” “The Creation of Buddhist Behavioral Model: Concept, Principal, and the Promotion of Life and Family’s Balance” การประชุมวิชาการ ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๒ Proceeding Online สังคมไทยหลัง NEW NORMAL: การเรียนรู้ การวิจัย และการ สร้างสรรค์ จัดโดยสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วันที่ ๒-๓ เมษายน ๒๕๖๔ หน้า ๓๕๒ Website: https://www.mcucon.com/๒๐๒๑

ผลงานตำราและหนังสื

  1. รศ.ดร.ประยูร สุยะใย (๒๕๖๑)ทฤษฎีบุคลิกภาพ (Theories of Personality).กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราช. จํานวน ๓๙๕ หน้า.
  2. รศ.ดร.ประยูร สุยะใย (๒๕๖๑)จิตวิทยาผู้ใหญ่ (Adult Psychology).กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. จํานวน๒๖๙ หน้า.
  3. รศ.ดร.ประยูร สุยะใย (๒๕๖๐)สรีรจิตวิทยา (Physiological Psychology).กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. จํานวน ๕๒๑ หน้า.
รศ.ดร.ประยูร สุยะใย (๒๕๖๐) พุทธจิตวิทยาการให้การปรึกษา (Buddhist Counseling Psychology).
    กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. จํานวน ๔๐๑ หน้า.
  4. รศ.ดร.ประยูร สุยะใย (๒๕๖๐)พุทธจิตวิทยากับสังคมและวัฒนธรรมไทย ( Buddhist Psychology and Thai Culture).กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. จํานวน ๓๑๓ หน้า.

กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา

  1. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  2. จุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัย
  3. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
  4. มหาวิทยาลัยศิลปกร
  5. มหาวิทยาลัยราชภัฎรําไพพรรณี จันทบุรี