รองศาสตราจารย์ ดร.สำราญ ขันสำโรง

ตำแหน่ง

  • รองศาสตราจารย์
  • อาจารย์ประจำหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ หลักสูตรนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

การศึกษา

  • พธ.บ. (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (2538)
  • M.A. (Linguistics), Deccan College (Deemed to be University), India (2540)
  • Ph.D. (Linguistics), University of Pune, India (2552)

ภาระงานในความรับผิดชอบ (ภายใน ๓ ปีย้อนหลัง)

ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาตรี (รายวิชา)

  1. Basic English
  2. Advance English
  3. การแปลงานเขียนเฉพาะด้าน
  4. หลักการแปล
  5. ธรรมภาคภาษาอังกฤษ
  6. การอ่านภาษาอังกฤษด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
  7. Contrastive study of English and Thai
  8. English phonology
  9. Dhamma Communication
  10. Reading in Social Sciences and Humanities
  11. English for Public Relation
  12. Structure and writing in English
  13. Independent study in English
  14. การศึกษาเปรียบเทียบภาษาไทยกับอังกฤษ
  15. ภาษาอังกฤษเพื่อการประชาสัมพันธ์
  16. ระบบเสียงของภาษาอังกฤษ
  17. การศึกษาเปรียบเทียบภาษาไทยกับอังกฤษ

ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาโท (รายวิชา)

  1. Advanced pronunciation
  2. Methods of Effective English Teaching

ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาเอก (รายวิชา)

  1. Phonological Analysis

ผลงานวิชาการ

งานวิจัย

  1. รศ.ดร.สำราญ ขันสำโรง, ผศ.ดร.วิสุทธิชัย ไชยสิทธิ์, ดร.เดชา ตาละนึก. (๒๕๖๖). “การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้กริยาวลี (Phrasal Verb) ในภาษาอังกฤษด้วยกระบวนการคิดวิเคราะห์แบบพุทธิปัญญา”, สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  2. ผศ.ดร.สำราญ ขันสำโรง, ผศ.ดร.วิสุทธิชัย ไชยสิทธิ์, ดร.เดชา ตาละนึก,พระครูใบฎีกาทิพย์พนากรณ์ ชยาภินนฺโท, พระมหาอังคาร ญาณเมธี. (๒๕๖๓). “การประเมินหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๑ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่”, มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่.
  3. สำราญ ขันสำโรง, ฐาวรี ขันสำโรง. (๒๕๖๓). “ผลของพุทธนวัตกรรมต่อสัญญาณคลื่นสมองในพระภิกษุจังหวัดเชียงใหม่”. มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น.

บทความทางวิชาการ

  1. Samran Khansamrong, Weerapong banphotrungrat, Khamporn Lungpao, Millika Tamee, Wang Shuzhen, (2023). “English Reading Skill Development through Short Stories of Senior High School in Doisaket Phaduangsassana School”, The 1st National and the 13th International Conference, on 25th January 2023. P.158-169.
  2. สำราญ ขันสำโรง, ฐาวรี ขันสำโรง. (๒๕๖๓). “ผลของพุทธนวัตกรรมต่อสัญญาณคลื่นสมองในพระภิกษุจังหวัดเชียงใหม่”, Journal of Buddhist Studies. ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มิถุนายน): ๑๘๑-๑๙๗.
  3. ผศ.ดร.สำราญ ขันสำโรง, ผศ.ดร.วิสุทธิชัย ไชยสิทธิ์, ดร.เดชา ตาละนึก, พระครูใบฎีกาทิพย์พนากณ์ ชยาภินนฺโท, อาจารย์ปั่น อะทะเทพ. (๒๕๖๓). “การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับผู้ประกอบธุรกิจท่องเที่ยวในชุมชน กรณีศึกษา อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่”, วารสารแสงโคมคำ. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม): ๒๙๔-๓๑๒.
  4. สำราญ ขันสำโรง, ฐาวรี ขันสำโรง. (๒๕๖๒). “บทบาทและการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพตามกฎบัตรออตตาวา ชาเตอร์ ของพระภิกษุและสามเณรที่พำนักวัดพัฒนาตัวอย่างในจังหวัดเชียงใหม่”, วารสาร Journal of Buddhist Studies. ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มิถุนายน): ๓๕-๕๑.
  5. Samran Khansamrong. (2019). “Thai Buddhist Monastic Schools and Universities”, Education about Asia. Volume 24 No. 1 spring: 37-41.