รองศาสตราจารย์ ดร.กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์

ตำแหน่ง

  • รองศาสตราจารย์
  • อาจารย์ประจำบัณฑิตศึกษา ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

การศึกษา       

  • นศ.บ. (ประชาสัมพันธ์) เกียรตินิยมอันดับ 2
  • วท.ม.(จิตวิทยาพัฒนาการ)
  • พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)

สถานที่ทำงาน

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เลขที่ 79 หมู่ 1 ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13170

โทรศัพท์ 035-248000

E-mail: kamalas.phoo@mcu.ac.th

ประสบการณ์ในการสอน

      ระดับปริญญาตรี

  1. จิตวิทยาพัฒนาการทุกช่วงวัย
  2. จิตวิทยาผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

      ระดับปริญญาโท

  1. การวัดและการประเมินทางพุทธจิตวิทยาการปรึกษา
  2. ระเบียบวิธีวิจัยทางจิตวิทยา
  3. พุทธจิตวิทยาการพัฒนาศักยภาพมนุษย์
  4. จิตวิทยารู้คิดและการเรียนรู้
  5. สถิติเพื่อการวิจัยทางจิตวิทยา
  6. กระบวนการและทักษะการปรึกษาทางพุทธจิตวิทยา

      ระดับปริญญาเอก

  1. จิตวิทยาการเรียนรู้
  2. การทดสอบและการประเมินทางจิตวิทยา
  3. พุทธจิตวิทยาเพื่อการปรึกษา
  4. จิตวิทยาการปรึกษาครอบครัวและผู้สูงอายุ
  5. การฝึกปฏิบัติการปรึกษาทางพุทธจิตวิทยา
  6. สถิติเพื่อการวิจัยชั้นสูงทางพุทธจิตวิทยา

ผลงานหนังสือ

  1. พุทธจิตวิทยาการวิจัย: จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
  2. เอกสารประกอบการสอน ระเบียบวิธีวิจัยทางจิตวิทยา
  3. เอกสารประกอบคำสอน การวัดและการประเมินทางจิตวิทยา

ผลงานที่ได้รับรางวัล

  1. รางวัลนักวิจัยระดับดี ประจำปี 2561 ในการประชุมวิชาการนานาชาติ ครั้งที่ 10 และการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 น่าน: นครพระพุทธศาสนา มรดกธรรมสู่มรดกโลก ณ วิทยาลัยสงฆ์นครน่าน เฉลิมพระเกียรติฯ
  2. รางวัลผลงานวิจัยระดับดีมาก ประจำปี 2562. รายงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาจิตและปัญญาแบบองค์รวมด้วยกระบวนการ Bio feedback ระยะที่ 2”. เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563. ผู้ร่วมวิจัย โดยมี พระมหาบุญเลิศ อินทฺปญฺโญ, รศ. ดร. เป็นหัวหน้าโครงการ
  3. รางวัลผลงานวิจัยระดับดีเด่น ประจำปี 2563. รายงานวิจัยเรื่อง “โครงการสุขชีวีวิถีพุทธยุค 4.0: กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน บ้าน วัด โรงเรียน”.
  4. รางวัลนักวิจัยระดับดีเด่น ประจำปี 2563. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 12: “สังคมไทยหลัง NEW NORMAL: การเรียนรู้ การวิจัย และการสร้างสรรค์”. จัดโดยสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และภาคีทางวิชาการ.

ตำแหน่งอื่น ๆ

  • คณะกรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • คณะกรรมการประเมินจริยธรรมในการวิจัย สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์
  • ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจประเมินรายงานวิจัยทุนอุดหนุน สกสว. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • คณะทำงานร่างแผนการวิจัย สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปี 2566
  • คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรประกาศนียบัตร วิธีวิทยาการวิจัยเชิงพุทธบูรณาการชั้นสูง” บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • คณะกรรมการจัดหาทุนเพื่อสร้างกุฎิพระวิปัสสนาจารย์และเรือนพักผู้ปฏิบัติธรรม ณ ศูนย์ปฏิบัติธรรมมหาจุฬาอาศรม ตำบลพญาเย็น อ. ปากช่อง จ. นครราชสีมา

งานบริการทางวิชาการแก่สังคม

  • วิทยากรร่วมอบรมกับทัณฑสถานวัยหนุ่มกลาง จังหวัดปทุมธานี โครงการบำบัดและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสำหรับผู้เสพยาเสพติดและผู้ค้ารายย่อย
  • วิทยากรร่วมอบรมกับทัณฑสถานวัยหนุ่มกลาง จังหวัดปทุมธานี ในโครงการ To be Number one สำหรับผู้ต้องขัง
  • คณะทำงานยกร่างประกาศหลักเกณฑ์และขั้นตอนการขอตำแหน่งวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • คณะทำงานขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านการเมืองสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (ร่างหลักสูตรระดับปริญญาตรีพุทธศาสนากับวัฒนธรรมประชาธิปไตย)
  • โครงการร่างแนวทางการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระเรียนรู้พระพุทธศาสนาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และธรรมศึกษาชั้นตรี
  • อาจารย์พิเศษสอนรายวิชา จิตวิทยาสำหรับครู มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย
  • วิทยากรอบรมในองค์กร หัวข้อ “การเสริมสร้างสติในองค์กร” และ “การปรึกษาตามแนวพุทธจิตวิทยาในองค์กร” “แรงจูงใจในการทำงานในภาวะวิกฤต” เป็นต้น

ผลงานวิชาการ

รายงานวิจัย

หัวหน้าโครงการวิจัย

  1. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2558). การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของสาระการเรียนรู้หลักสูตรธรรมศึกษาและหลักสูตรวิชาพระพุทธศาสนาในโรงเรียน. รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  2. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์, พุทธชาติ แผนสมบุญ. (2560). ค่านิยมและพฤติกรรมต้นแบบการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ตามแนวพุทธจิตวิทยาบูรณาการของสามเณร. รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  3. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์, พุทธชาติ แผนสมบุญ. (2561). กระบวนการเรียนรู้เพื่อการจัดการเครือข่ายพระสงฆ์พิทักษ์วัฒนธรรม. รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  4. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์, พุทธชาติ แผนสมบุญ. (2561). รูปแบบและกระบวนการพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษของนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  5. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และอำนาจ บัวศิริ. (2561). โครงการสุขชีวีวิถีพุทธ : ในชุมชนเมืองยุค 4.0: กระบวนการมีส่วนร่วมชุมชน บ้านวัด โรงเรียน. รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  6. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และคณะ. (2561). การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างจิตสำนึกด้านคุณธรรมตามหลักพุทธจิตวิทยาสำหรับเยาวชน. โครงการวิจัยรับใช้สังคมท้อปเทร็นด์สู่ท้อปมายด์ ปี 2561 (วินัย ใฝ่ดี มีจิตอาสาเพื่อสังคม). รายงานวิจัย. ทุนสนับสนุนบริษัทท้อปเทร็นด์แมนูเฟอริ่ง จำกัด และสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  7. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และคณะ. (2562). โครงการนวัตกรรมสุขภาวะวิถีพุทธและพุทธจิตวิทยาบำบัดเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงภาวะซึมเศร้าของเยาวชนไทย. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพและสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. รายงานวิจัย. หัวหน้าโครงการวิจัยย่อย ภายใต้โครงการการเสริมสร้างสุขภาวะเชิงพุทธของหน่วยงานอบรมประชาชนประจำตำบล (อ.ป.ต) ในสังคมไทย โดย พระสุธีรัตนบัณฑิต รศ.ดร.
  8. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และคณะ. (2563). การพัฒนาหมู่บ้านต้นแบบสันติสุขตามหลักคำสอนทางศาสนาในพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้. รายงานวิจัย. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  9. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และคณะ. (2561). รูปแบบการออกกำลังกายด้วยการเจริญสติของผู้สูงอายุในจังหวัดฉะเชิงเทรา. รายงานวิจัย. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  10. “ดู” รูปแบบการใช้สื่อสร้างสรรค์วิถีพุทธเพื่อพัฒนาท้องถิ่นในบ้านเกิดของเยาวชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
  11.  พื้นที่สร้างสรรค์จากคนสามวัย: รูปแบบการสร้างความร่วมมือเพื่อส่งเสริมพื้นที่สร้างสรรค์ด้วยทุนวัฒนธรรมทางสังคมในวิถีใหม่ งบประมาณปี 2566 (กำลังดำเนินการ)
  12. พุทธจิตวิทยาวิถีชีวิตใหม่ : กลไกการสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจของครอบครัวไทย  งบประมาณปี 2566 (กำลังดำเนินการ)

ผู้ร่วมวิจัย

  1. พระมหาสุทิตย์ อาภากโร ดร., กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2558). การสร้างและพัฒนาตัวชี้วัดความสุขของประชาชนตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  2. พระมหานันทวิทย์ ธีรภทฺโท, กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์, ดร.อัครนันท์ อริยศรีพงษ์. (2559). การเสริมสร้างจริยธรรมสำหรับผู้ต้องขังในเขตกรุงเทพมหานคร. รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  3. พระเทพปวรเมธี, รศ.ดร. (ประสิทธิ์ พฺรหฺมรํสี อินทร์กรุงเก่า), กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์, ขันทอง วัฒนะประดิษฐ์, ญาศุมินท์ อินทร์ กรุงเก่า. (2560). การขับเคลื่อนการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา: นโยบายและแนวปฏิบัติเพื่อการพัฒนาสังคมสันติสุข. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  4. พระมหาบุญเลิศ ช่วยธานี, ผศ.ดร.ศิริวัฒน์ ศรีเครือดง, กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และพุทธชาติ แผนสมบุญ. (2560). การพัฒนาจิตและปัญญาแบบองค์รวมด้วยกระบวนการ Bio Feedback. โครงการย่อยที่ 2 การพัฒนากิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสุขชีวีตามแนวทางการพัฒนาจิตและปัญญาแบบองค์รวม. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  5. พระมหาชุติภัค อภินนฺโท, กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์, ญาณินทร์ รักวงศ์วาน และพุทธชาติ แผนสมบุญ. (2560). อัตลักษณ์กับการท่องเที่ยว : ศึกษาการนําอัตลักษณ์มาใช้กับการท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรมของเมืองหลวงพระบาง ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  6. พุทธชาติ แผนสมบุญ และกมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2561).การติดตามการปฏิบัติศาสนกิจของพระธรรมฑูตสายต่างประเทศของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  7. พระมหาบุญเลิศ, อินฺทปญฺโญ; กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และพุทธชาติ แผนสมบุญ. (2561). การพัฒนากิจกรรมเพื่อสร้างชีวสุขตามแนวทางการพัฒนาจิตและปัญญาแบบองค์รวม ระยะที่ 2. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  8. พุทธชาติ แผนสมบุญ และกมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2561). การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างพฤฒิพลังสำหรับผู้สูงอายุ. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  9. อัครนันท์ อริยศรีพงษ์ และกมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2561). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมและจิตวิทยาเชิงบวกที่มีต่อสุขภาวะองค์รวมแนวพุทธของครอบครัวในชุมชนอาคารสูง เขตกรุงเทพมหานคร. รายงานการวิจัย. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  10. นวลวรรณ พูนวสุพลฉัตร, พระครูพิพิธปริยัติกิจ, พระครูกัลยาณสิทธิวัฒน์ และ กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2561). การวิเคราะห์สังเคราะห์องค์ความรู้และกระบวนการให้การปรึกษาเชิงพุทธจิตวิทยา. รายงานการวิจัย. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

การเผยแพร่ผลงานวิจัย/การตีพิมพ์/การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์

บทความทางวิชาการ

  1. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2558). การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของสาระการเรียนรู้หลักสูตรธรรมศึกษาและหลักสูตรวิชาพระพุทธศาสนาในโรงเรียน. วารสารบัณฑิตปริทรรศน์, 11(3).
  2. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์, พุทธชาด แผนสมบุญ, พระครูพิพิธปริยัติกิจ, พระปลัดสมชาย ปโยโค, อรจิรา วงษาพาน, เอื้ออารีย์ วัยวัฒนะ, อัครนันท์ อริยศรีพงษ์ และญาณินี ภูพัฒน์. (2560). ค่านิยมและพฤติกรรมต้นแบบการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ตามแนวพุทธจิตวิทยาบูรณาการของสามเณร. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 5(2).
  3. Kamalas Phoowachanathipong. (2017). The Effect of Changes of Value and Behavior Model of Consuming in online social Network Using Integration of Buddhist Psychology for Thai Novices. Journal of International Buddhist Studies JIBS, 8 (1): 112-126.
  4. พุทธชาติ แผนสมบุญ, กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์, อยุษกร งามชาติ, พระครูพิพิธปริยัติกิจ, สุวัฒสัน รักขันโท, โกศล จึงเสถียรทรัพย์ และธนวรรณ สาระรัมย์. (2561). กระบวนการเสริมสร้างภาวะพฤฒิพลังในผู้สูงอายุ. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 5(2): 271.
  5. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และอัครนันท์ อริยศรีพงษ์. (2561). การเสริมสร้างจริยธรรมสำหรับผู้ต้องขังในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 6(4): 1347-1361.
  6. จรรย์จารี ธรรมา, กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และพระครูพิธปริยัติกิจ (ชยัน แสนโบราน). (2561). การพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อสร้างสมรรถนะนักการตลาดในศตวรรษที่ 21 ตามแนวพุทธจิตวิทยา. วารสาร มจร สังคมปริทรรศน์, 7(2): 335 -351.
  7. จรรย์จารี ธรรมา และกมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2561). ธรรมโมโลยีการตลาด การบูรณาการหลักพระพุทธศาสนาเข้ากับหลักการตลาด. วารสารราชมงคลล้านนา, 6(1).
  8. จรรย์จารี ธรรมา และกมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2561). ธรรมโมโลยีการตลาด พุทธศาสนากับงานบริหารการตลาด. วารสารสุทธิปริทัศน์, 32(103).
  9. จรรย์จารี ธรรมา, กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และ พระครูพิธปริยัติกิจ (ชยัน แสนโบราน). การพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อสร้างสมรรถนะนักการตลาดในศตวรรษที่ 21 ตามแนวพุทธจิตวิทยา. วารสาร มจร สังคมปริทรรศน์, 7(2).
  10. พุทธชาติ แผนสมบุญ และกมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ .“ผลการพัฒนากระบวนการสร้างค่านิยมและพฤติกรรมต้นแบบการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ตามแนวพุทธจิตวิทยาของสามเณร”. วารสารท้องถิ่น. ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2561) : 40-56.
  11. อัครนันท์ อริยศรีพงษ์ และกมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2561). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมและจิตวิทยาเชิงบวกที่มีต่อสุขภาวะองค์รวมแนวพุทธของครอบครัวในชุมชนอาคารสูง เขตกรุงเทพมหานคร. วารสาร มหาจุฬานาครทรรศน์, 5(2).
  12. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์, พุทธชาติ แผนสมบุญ และ ผศ.ดร.โกวิท พานแก้ว. (2561). รูปแบบและกระบวนการพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษของนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 5(1): 63-73.
  13. ศิลป์ชัย สีมาวงศ์อนันต์, สิริวัฒน์ ศรีเครือดง, กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และสุวัฒสัน
    รักขันโท. (2562). การพัฒนาตนตามหลักอิทธิบาท 4 ของบุคลากรในยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 5(2): 251-266.
  14. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และขันทอง วัฒนะประดิษฐ์. (2562). การเสริมสร้างจิตสำนึกด้านคุณธรรมตามหลักพุทธจิตวิทยาสำหรับเยาวชน. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, 15(ฉบับเพิ่มเติม): 75-90.
  15. Sinchai Semawonganun, Kamalas Phoowachanathipong, Amnaj Buasiri. (2019). The Development of Competency Enhancing Based on Buddhist Psychology for Engineering Personnel. Journal of International Buddhist Studies, 10(2): 27-41.
  16. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์, เมธาวี อุดมธรรมานุภาพ, พระครูสังฆรักษ์จักรกฤษณ์ ภูริปญฺโญ,อํานาจ บัวศิริ และอัครนันท์ อริยศรีพงษ์. (563). ผลการใช้กิจกรรมการพัฒนาตนเพื่อเสริมสร้างสุขชีวีวิถีพุทธสำหรับเยาวชนในศูนย์การเรียนรู้พระพุทธศาสนาและการพัฒนาสังคม วัดสุทธิวราราม. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(3).
  17. พันทิวา กฤษฎาชาตรี และกมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2563). โมเดลเชิงสาเหตุการเตรียมความพร้อมสำหรับสังคมผู้สูงอายุตามหลักพุทธจิตวิทยาเพื่อเข้าสู่การตลาดในทศวรรษหน้า. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(4).
  18. จิณห์จุฑา ศุภมงคล และกมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2563). การพัฒนาพฤติกรรมเชิงสรรค์สำหรับเยาวชนโดยใช้สื่อตามแนวพุทธจิตวิทยา. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 6(1).
  19. พนัทเทพ ณ นคร และกมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2563). การศึกษาคุณลักษณะนักขายที่ประสบความสำเร็จและมีความสุขตามหลักพุทธจิตวิทยา. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 6(1).
  20. นราทิพย์ ผินประดับ และกมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2563). แนวคิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการกรุงเทพมหานครตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 6(1).
  21. ณฐกร วัชรสินธุ์ และกมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2563). แนวทางการจัดการเชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนาธุรกิจรักษาความปลอดภัย. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 6(1).
  22. ศิลป์ชัย สีมาวงศ์อนันต์, กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และสุวัฒสัน รักขันโท. (2563). แนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านคุณธรรมของบุคลากรสายวิศวกรรม. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 6(1).
  23. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และอํานาจ บัวศิริ. (2563). สุขชีวีวิถีพุทธในชุมชนเมืองยุค 4.0: กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน บ้าน วัด โรงเรียน. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(11): 405-419.
  24. พระครูปทุมภาวนาจาย์ (วีระนนท์ วีระนนฺโท) และกมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2563). ความสัมพันธ์วิปัสสนากรรมฐานกับหลักไตรสิกขา. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 5(3): 632-644.
  25. มนัสนันท์ ประภัสสรพิทยา, กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์, วิชชุดา ฐิติโชติรัตนา และอำนาจ บัวศิริ. (2564). นวัตกรรมสุขภาวะวิถีพุทธและพุทธจิตวิทยาบำบัดเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงภาวะซึมเศร้าของเยาวชนไทย. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 6(3).
  26. มนัสนันท์ ประภัสสรพิทยา, กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์, วิชชุดา ฐิติโชติรัตนา และอำนาจ บัวศิริ. (2564). โปรแกรมพัฒนาชีวิตสำหรับครอบครัวตามหลักพุทธจิตวิทยา. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 6(3).
  27. ทิพย์ธิดา ณ นคร, กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์, พระมหาเผื่อน กิตฺติโสภโณ และอำนาจ บัวศิริ. (2564). การพัฒนาตัวบ่งชี้ภูมิคุ้มกันเพื่อการเผชิญวิกฤติตามแนวพุทธพุทธจิตวิทยาสำหรับวัยผู้ใหญ่. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 6(3).
  28. พิไลวรรณ บุญล้น, สิริวัฒน์ ศรีเครือดง และกมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2564). แรงจูงใจการทำงานจิตอาสาตามหลักพุทธจิตวิทยาของบุคคลหลากหลายอาชีพในสังคมไทยวารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 7(1).
  29. พรทิพย์ เกศตระกูล, กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และ สิริวัฒน์ ศรีเครือดง. (2565). พลังความคิดเนรมิตสุขภาพที่ดี. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 8(1).
  30. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และคณะ. (2565). การพัฒนาหมู่บ้านสันติสุขตามหลักคำสอนของศาสนาพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, 18(1).

บทความวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติ

  1. Kamalas Phoowachanathipong, PhrakhruPatum Bhavana Charn Vi. (WeeranonWeeranundho), Amnaj Buasiri, Akaranun Ariyasripong, Phatthida Raengthon. (2020). Effects of Vipasana Meditation Practice on Happiness of Adult life. International Conference on Multidisciplinary and Current Educational Research (ICMCER-2020), 30th – 31st July 2020.
  2. Phrakhrusangharak ChakkitBhuripañño,Pairatchimhad, Akkaradecha Brahmakappa Noppadol Deethaisong, Kamalas Phoowachanathipong. (2020). Key Stakeholders Network Management Process in the Area of the World Heritage Sites in Ayutthaya. International Conference on Multidisciplinary and Current Educational Research (ICMCER-2020), 30th – 31st July 2020.
  3. PhraTheppavaramethi, Kamalas Phoowachanathipong, Yasumin Inkrungkao, Lampong Klomkul. (2020). A Movement Model of Buddhists Reform for Peaceful Society Development. International Conference on Multidisciplinary and Current Educational Research (ICMCER-2020), 30th – 31st July 2020.
  4. Kamalas Phoowachanathipong, Khantong attanapradith, Akaranun Ariyasripong, Phramaha Nuntawit Dhirabhaddo, Phramaha Sutep Sutthiyano (Thanikkul). (2021). Effect of Model Development Enhancing Moral Consciousness based on Buddhist Psychology for Thai Youths. Turkish Journal of Physiotherapy and Rehabilitation, 32(2): 21286-21294.
  5. Kamalas Phoowachanathipong, Matavee Udomtamanupab, Amnaj Buasiri, Witchuda Titichoatrattana, Phutthachat Pheansomboon. (2021). Development of Buddhist Well-Being Indicators of Thai Youth. Turkish Journal of Physiotherapy and Rehabilitation, 32(2): 19780-19788.

การประชุมวิชาการ (Proceeding)

  1. Kamalas Phoowachanathipong and others. (2017). A Process of Buddhist Psychology for Encouraging Self-Sufficient Lifestyles in Community towards Sustainable Happiness. Special Focus: Understanding Globalism, Respecting Difference. 7th International Conference On Religion & Spirituality in Society. Imperial College London, London, UK. (17-18 April 2017).
  2. Kamalas Phoowachanathipong and others. (2016). The Process of the Consumptional Value as Cognitive Approach For Adolescents. The 7th International Buddhist Research Seminar on cultural geography in Buddhism IBRS. held in Nan province, (18-20 February 2016).
  3. Kamalas Phoowachanathipong and others. (2017). Value and Behavioral Model of Consuming in Online Social Network Using Integration of Buddhist Psychology for Thai Novices. Special Focus: Understanding Globalism, Respecting Difference. 7th International Conference On Religion & Spirituality in Society. Imperial College London, London, UK. (17-18 April 2017).
  4. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2563). พุทธโฆส: สัตถุสาสน์วิวัฒน์ในศตวรรษที่ 21. การนำเสนอโปสเตอร์ ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม. (2 กุมภาพันธ์ 2563).
  5. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2561). โครงการสุขชีวีวิถีพุทธ. ในการประชุมระดับชาติ ครั้งที่ 2 ( MCU Congress II). ภายใต้ MOU ร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยมหิดล. (30 เมษายน 2561).
  6. กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2561). กระบวนการเรียนรู้เพื่อการ จัดการเครือข่ายพระสงฆ์พิทักษ์ วัฒนธรรม. การ ประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 MCU Nan Congress II.

คำสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัย