ดร.ศักดิ์ชัย โพธิ์สัย / Dr. Sakchai Posai

ตำแหน่ง

  • อาจารย์ประจำ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ภาควิชาภาษาต่างประเทศ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • ผู้อำนวยการหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

การศึกษา

  • นักธรรมชั้นเอก
  • เปรียญธรรม ๕ ประโยค
  • พธ.บ. (เกียรตินิยมอันดับสอง) วิชาเอกภาษาอังกฤษ ภาควิชาภาษาต่างประเทศ   มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ส่วนกลาง กรุงเทพฯ  (ปีที่จบ 2542)
  • M.A. (Linguistics), Faculty of Linguistics, Deccan College, Post Graduate and Research Institute, Pune, India (ปีที่จบ 2544)
  • Ph.D. (English), Faculty of English, University of Pune, Pune, India (ปีที่จบ 2554)

สถานที่ทำงาน

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เลขที่ 79 หมู่ 1 ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13170

ประสบการณ์ด้านการทำงานวิชาการ/ด้านการสอน

2565 – ปัจจุบัน    ผู้อำนวยการหลักสูตรภาษาศาสตรมหาบ้ณฑิต  ภาควิชาภาษาต่างประเทศ คณะมนุษยศาสตร์ มจร. วังน้อย พระนครศรีอยุธยา

2564 – ปัจจุบัน    กรรมการสภาวิชาการ ผู้แทนคณาจารย์ประจำ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

2561 – ปัจจุบัน    อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาอังกฤษ ภาควิชาภาษาต่างประเทศ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

2549 – 2560        อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาอังกฤษ ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต ภูเก็ต

2556 – 2558        หัวหน้าสาขาวิชาภาษาอังกฤษ ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต ภูเก็ต

2549                   อาจารย์ประจำวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต (RBAC) คณะศิลปศาสตร์  บางกะปิ กรุงเทพมหานคร

2546 – 2548       อาจารย์สาขาวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ คณะศิลปศาสตร์  สายไหม กรุงเทพมหานคร

2545 – 2546       อาจารย์สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง ราชบุรี

ด้านสังคมและหน่วยงานอื่น

2564 – ปัจจุบัน     กรรมการ มูลนิธิจิตตโสภณภาวนา ปทุมธานี ประเทศไทย

2561 – ปัจจุบัน     กรรมการ มูลนิธิอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอันดามัน จังหวัดภูเก็ต

2556 – 2560         กรรมการสภาคณาจารย์และข้าราชการ มรภ. ภูเก็ต (2 สมัย) มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต

2557                    กรรมการสรรหา ปปช.จังหวัดภูเก็ต สำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ กรุงเทพฯ

ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และสิ่งตีพิมพ์

ผลงานวิจัย / วิทยานิพนธ์

  1. Sakchai Posai. (2011). The Teaching English as a Foreign Language at the University Level (in North Bangkok College) in Bangkok, Thailand. Dissertation of Doctoral Degree of Philosophy, Department of English, University of Pune, India.

ผลงานด้านวิชาการ

ตำรา หนังสือ/เอกสารประกอบการสอน

  1. English Teaching and Methods (การสอนและกลวิธีการสอนภาษาอังกฤษ) หนังสือเรียนสำหรับนิสิตปริญญาตรี สาขาวิชาเอกภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๖๓
  2. Analytical Reading in English (การอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาอังกฤษ) หนังสือเรียนสำหรับนิสิตปริญญาตรี สาขาวิชาเอกภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๖๓
  3. Writing for Specific Purpose (การเขียนภาษาอังกฤษสำหรับวัตถุประสงค์เฉพาะทาง) หนังสือเรียนสำหรับนิสิตปริญญาตรี สาขาวิชาเอกภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๖๒
  4. Structure and Reading in English (โครงสร้างและการอ่านภาษาอังกฤษ) หนังสือเรียนสำหรับนิสิตปริญญาตรี สาขาวิชาเอกภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๖๔

ด้านงานวิจัย

  1. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง กลยุทธ์ในการสื่อสารของนักศึกษาไทยสาขาวิชาเอกภาษาจีน: ความแตกต่างระหว่างภาษาอังกฤษและภาษาจีน (Communication Strategies of Thai Students Studying Chinese Major: Differences between English and Chinese) ศักดิ์ชัย โพธิ์สัย และ ทรงศรี สรณสถาพร ตีพิมพ์ในวารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์ (MANUTSAT PARITAT: Journal of Humanities), คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร กรุงเทพฯ, ๒๕๖๑
  2. ผู้ร่วมโครงการวิจัยเรื่อง การศึกษาผลของการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะและกลยุทธ์ในการสื่อสารภาษาอังกฤษและความสามารถในการทำงานของผู้เรียนระดับอุดมศึกษา (Effects of English learning by Project-based learning for Developing English Communicative Skills and Strategies and Self-efficacy of University Learners) ทรงศรี สรณสถาพร และ ศักดิ์ชัย โพธิ์สัย, ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา จังหวัดนครปฐม
  3. ผู้ร่วมโครงการวิจัยเรื่อง การศึกษาและการพัฒนานวัตกรรมการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรมสำหรับบุคลากรด้านการท่องเที่ยวเขตพัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูง จังหวัดอุทัยธานี (A Study and Development of the English Communicative Innovation for Ecocultural Tourism for Tourism Personnel in the Highland Area Uthai Thani Province) ทวีศักดิ์ ชูมาและศักดิ์ชัย โพธิ์สัย, ๒๕๖๓ (วช.๒๕๖๓)
  4. ผู้ร่วมโครงการวิจัยเรื่อง การศึกษาและการพัฒนานวัตถกรรมทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษของชุมชนหมู่บ้านโฮมสเตย์เพื่อเพิ่มศักยภาพการท่องเที่ยว : กรณีศึกษาบ้านพรุใน ตำบลพรุใน อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา (A Study and Development of English Communicative Skills of Home Stay Village to Increase Tourism Potentials : A Case Study of Phru Nai Village, Phru Nai Sub-district, Ko Yao District, Phang-Nga Province) บุญชู กออุดมรัตน์ ศักดิ์ชัย โพธิ์สัยและสุวัฒสัน รักขันโท, ๒๕๖๓ ทุนสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต
  5. ผู้ร่วมโครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาแอพพลิเคชั่น (Application) ในการจัดการเรียนรู้และการจัดการสิ่งแวดล้อมและแหล่งโบราณคดีในจังหวัดหนองคาย Development of Application in learning management and Environmental Management and Archeology in Nongkhai  Province  โดยคณะผู้วิจัย ดร.อธิเทพ ผาทา ผศ.ดร. พระมหาสุขสันต์  สุขวฑฺฒโน ผศ.ดร. สอนประจันทน์ เสียงเย็น ดร.ศักดิ์ชัย โพธิ์สัย  ผศ.ดร.ศรุติ อัศวเรืองสุขผศ.ดร.อุทัย สติมั่น สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๖๔  ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม MCU RS ๘๐๐๗๖๔๘๐๐
  6. ผู้ร่วมโครงการวิจัยเรื่อง ผลกระทบต่อภารกิจและบทบาทของวัดในสถานการณ์โควิด-๑๙ ภาคใต้ตอนบน โดยคณะผู้วิจัยนำโดย สุวัฒสัน รักขันโท, พระครูพิจิตรศุภการ, มนตรี เพชรนาจักร, ธีระพงษ์ สมเขาใหญ่, สิทธิโชค ปาณะศรี, ศักดิ์ชัย โพธิ์สัย, โสภณ พรหมเนตร, โสภณ บัวจันทร์ และพระปลัดนิคม ปญฺญาวชิโร. (๒๕๖๓). การวิจัยสหสถาบัน ๔๓ แห่ง โดย มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และวัฒนธรรมจังหวัดระนอง: ผู้รับผิดชอบในส่วนจังหวัดภูเก็ต
  7. หัวหน้าโครงการวิจัยย่อย เรื่อง การศึกษาความคุ้มค่า คุณค่าและเพิ่มพูนพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยววัฒนธรรมเชิงพุทธย้อนรอยประวัติศาสตร์ลุ่มน้ำเจ้าพระยา-ป่าสัก (A study of the Miracle of Worthiness, Glory and Enhancement of Tourism for Developing the Potential of Buddhist Cultural Tourism tracing the History of the Chao Phraya-Pasak Basin) โดยคณะผู้วิจัย ดร.ศักดิ์ชัย โพธิ์สัย  ผศ.ดร.วีรกาญจน์ กนกกมเลศ พระวิเชียร ปริชาโน ผศ. ดร. รศ.ดร.ปรีชา คะเนตนอก รศ.นิลรัตน์ กลิ่นจันทร์  สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๖๖
  8. หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง รูปแบบการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยใช้การเรียนรู้แบบทีมเป็นฐานของนิสิตปริญญาตรีชั้นปี ที่ 1  มหาวิทยาลัยสงฆ์โดยผ่านเครือข่าย ( A Model Development of English-Speaking Skills for Communication through the Team-based Learning of the 1st Year Undergraduate Students of Buddhist Universities Focused on Network’s Participation) โดย ดร.ศักดิ์ชัย โพธิ์สัย งบประมาณ 100,000 บาทจากหลักสูตรภาษาศาสตรมหาบัณฑิต  คณะมนุษยศาสตร์และสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๖๖

ด้านเขียนบทความวิจัย

  1. กลยุทธ์ในการสื่อสารภาษาของนักศึกษาไทยที่ศึกษาหลักสูตรภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร: การวิจัยเชิงคุณภาพ (English Communication Strategies of Thai Students Studying Chinese for Communication Program: A Qualitative Study) ทรงศรี สรณสถาพร และ ศักดิ์ชัย โพธิ์สัย ตีพิมพ์ในวารสารราชมงคลวิชาการ ในการประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ ๑๐ The 10th Rajamangala University of Technology National Conference “ราชมงคลขับเคลื่อนนวัตกรรมก้าวไกลสู่ Thailand ๔.๐” “RMUT Driving Innovation for Thailand ๔.๐”
  2. การเปรียบเทียบปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดของธุรกิจสปาในจังหวัดภูเก็ต (A Comparison Study of Mixed Marketing Factors of Spa Business in Phuket Province) ตีพิมพ์วารสารศิลปศาสตร์ ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี ๒๕๖๐ เรื่อง “มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในศตวรรษที่ ๒๑” สาขาสังคมศาสตร์
  3. กรณีศึกษา: ผลการศึกษาอัตลักษณ์ของธุรกิจสปาในจังหวัดภูเก็ต (A Study of Identities of Spa Business in Phuket Province) ตีพิมพ์วารสารศิลปศาสตร์ ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี ๒๕๖๐ เรื่อง “มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในศตวรรษที่ ๒๑” สาขาสังคมศาสตร์